โครงงาน กลุ่ม 2

0

Presentation Transcript

  • 1. ชื่อโครงงาน การจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่อง The Preventive Maintenance System of Machine กรณีศึกษาบริษัท บริษัท ล.ไลท์ติ้งกลาส จำกัด A CASE STUDY L.LIGHTING GLASS CO.,LTD
  • 2. ชื่อโครงงาน การจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่องจักร กรณีศึกษา บริษัท L.LIGHTING GLASS CO.,LTD สมาชิก
  • 3. ความสำคัญและที่มาของโครงงาน ในปัจจุบันขวดแก้วมีอัตราการขยายตัว และความต้องการของผู้บริโภคในการใช้ขวดแก้วสูงมากทำให้จำนวนยอดการผลิตขวดแก้วเติบโตอย่างต่อเนื่องและเนื่องจากดังนั้นในโรงงานอุตสาหกรรมที่เป็นผู้ผลิตขวดแก้วต้องมีการปรับปรุง และพัฒนากระบวนการผลิตตอบสนองเพื่อความต้องการของลูกค้า กล่าวได้ว่าเครื่องจักรมีความสำคัญมากที่สุดต่อระบบอุตสาหกรรม ประกอบหรือผลิตขวดแก้วดังนั้นปัญหาการเสียของเครื่องจักรจึงเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบอย่างมากในหลายด้าน ทั้งการสูญเสียในด้านโอกาสทางการขายในกรณีที่ ผลิตสินค้าไม่ทัน การสูญเสียต้นทุนในการดำเนินการผลิตจึงจำเป็นต้องมีการบำรุง และรักษาเครื่องจักรให้อยู่ใน สภาพที่พร้อมใช้อยู่เสมอ
  • 4. วัตถุประสงค์ของโครงงาน (1)เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาในงานซอมบำรุงเครื่องจักร (2)เพื่อจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันโดยมีเป้าหมายเพื่อ ลดการ ขัดข้อง ของเครื่องจักรโดยรวมลงไม่น้อยกว่า 10%
  • 5. ขอบเขตของโครงงาน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการจัดทำระบบการบำรุงรักษา เชิงป้องกัน เครื่องจักรในสายการผลิต IS Machine Line A and B Tank 1 โดยพิจารณาเฉพาะเครื่องจักรพื้นที่ที่มีความพร้อมใช้งานไม่ต่ำกว่า 80% ของ บริษัท L.LIGHTING GLASS CO.,LTD
  • 6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานโดยรวมของเครื่องจักรให้สูงขึ้นตามเป้าหมาย 2. พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้อยางเต็มประสิทธิภาพ 3. สนองนโยบายหน่วยงานซ่อมบำรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 4. เป็นแนวทางในการปรับปรุงเครื่องจักรในพื้นที่อื่นๆ
  • 7. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1. การบำรุงรักษา(Maintenance) การบำรุงรักษากำลังกลายเป็นกิจกรรมอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญอย่างหนึ่งทั้งในประเทศ ที่พัฒนาแล้ว และประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งนี้สืบเนื่องจากปัญหาของการบำรุงรักษานับวันจะยุ่งยาก และซับซ้อนขึ้นใช้เวลามากใช้งบประมาณเครื่องมือกำลังคนมากขึ้นนั้น หมายถึงการลงทุนที่สูงขึ้น นับแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมาความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในด้าน การผลิต และการวางแผนพัฒนาขึ้นมา แต่การบำรุงรักษากลับถูกมองข้ามและถูกทอดทิ้งมาโดย โดยตลอด จนกระทั้งความคิดว่าการปล่อยให้อุปกรณ์เครื่องจักรใช้งานโดยขาดการเหลียวแลอย่าง จริงจังเป็นเรื่องไม่เหมาะสม แล้วจำเป็นต้องใช้เครื่องจักรผลิตของให้ได้ใกล้เคียงหรือมาตรฐานที่กำหนดไว้ดีที่สุด ทั้งนี้เพื่อลดผลิตภัณฑ์ชำรุดและไม่ได้มาตรฐานให้ได้มากที่สุดทั้งที่เป็นที่ยอมรับว่าการซ่อมบำรุงต้องกระทำ ให้เร็วที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงการหยุดเครื่องนานๆ
  • 8.ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) 2. ที่มาของระบบ(Preventive Maintenance) ก่อนปี ค.ศ.1950 ยุคการซ่อมบำรุงหลังเกิดเหตุขัดข้องในครั้งนั้นเป็นปัญหา อย่างมาก เพราะ เมื่อเครื่องจักรเสียค่อยมีการอมทําให้ระบบการผลิตต้องหยุดชะงักเกิดความเสียหายอย่างมากต่อ มาใน ปี ค.ศ.1950-1960 จึงเริ่มคิดซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันเป็นยุคที่เริ่มนำระบบ PM มาใช้ เรียกว่าเป็นระบบแรกที่เริมการซ่อมบำรุงรักษาแบบ ใช้PM เป็นศูนย์กลางและความเชื่อมั่นในสมรรถภาพของเครื่องจักร .ปีศ.1960ค–1970 ยุคการเริ่มบำรุงรักษาแบบทวีผลหรือการบำรุงรักษา เพื่อเพิ่มผลผลิตเป็นยุคที่ให้ ความสำคัญของการออกแบบโรงงาน การนำเครื่องมือเครื่องจักรและ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้โดยคำนึงถึงความเชื่อถือและด้านเศรษฐศาสตร์ และต่อเนื่องในการ ป้องกันการบำรุงรักษา มีการพัฒนาการทำวัสดุในการทำชิ้นส่วนให้มีความคงทนต่อการใช้งาน การออกแบบเครื่องจักรให้มีระบบการบำรุงรักษาระบบในตัวเอง.ศ.1970-ปัจจุบันยุคการเข้าร่วมในระบบ TPM เป็นยุคที่ทำให้ระบบ PM ให้เป็นแบบTOTAL SYSTEM เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยคำนึง ถึงบุคคลเป็นส่วนใหญ่และให้ทุกคนได้ร่วมมือทำ ได้ทั่วถึงและจริงจัง
  • 9.ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) 3. วัตถุประสงค์ในการบำรุงรักษา 1.เพื่อให้อุปกรณ์อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานตลอดเวลาคือการบำรุงรักษาที่กระทำก่อนที่จะ ชำรุดเสียหาย 2.เพื่อแก้ไขซ่อมแซมอุปกรณ์ที่ชำรุดให้กลับมาบำรุงรักษาที่กระทำก่อนที่อุปกรณ์จะชำรุด อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน 3.เพื่อเพิ่มความไว้ใจและความน่าเชื่อถือในการใช้อุปกรณ์เครื่องจักรนั้น 4.ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงเมื่อมีการวางแผนที่เหมาะสมการจัดสรรกำลังคน สิ่งของ วัสดุ อะไหล่รวมถึงระยะเวลาในการซ่อมที่เป็นไปอยางรัดกุมและมีประสิทธิภาพ 5.ลดจำนวนหรือความถี่ของอุปกรณ์ขัดข้องเสียหายโดยการใช้ระบบการบำรุงรักษาแบบป้องกัน 6.ลดจำนวนงานค้าง เครื่องจักรมีคุณภาพจะทำให้ได้งานตามเป้าหมายคุณภาพและปริมาณ
  • 10. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) วงจรชีวิตของเครื่องจักร นับได้ว่าเป็นวิธีการที่จะนำมาอธิบายชวงระยะเวลาต่างๆของสถานะ ภาพต่างๆ ที่เกิดขึ้นของเครื่องจักรที่มีการเสื่อมสภาพการชำรุด และการสิ้นอายุของเครื่องจักร โดย ทั่วไปแล้วมีการอธิบายลักษณะดังกล่าวในรูปเส้นโค้งอ่างน้ำตามรูปซึ่งเป็นกราฟที่ใช้อธิบาย ลักษณะที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปของเครื่องจักร และสามารถจัดแบ่งช่วงชีวิต ออกเป็น3 ช่วงใหญ่ๆ คือ ช่วงระยะเริ่มต้น Run(-ln) ช่วงใช้งานปกติ(Useful life) และช่วงสึกหรอ(Wear out)
  • 11. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) 5. ประเภทของการซ่อมบำรุงรักษา วิวัฒนาการของการซ่อมบำรุงรักษามีบ่อเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในการผลิตและ คอมพิวเตอร์ซึ่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงโดยมีความกาวหน้าของวิธีการบำรุงรักษาแบบต่างดังต่อไปนี้ - การบำรุงรักษาแบบซ่อมเมื่อเสีย (Breakdown Maintenance) - การบำรุงรักษาเชิงป้องกันน (Preventive Maintenance) - การบำรุงรักษาทวีผล (Productive Maintenance) - การบำรุงรักษาเชิงปรับปรุงแก้ไข (Corrective Maintenance) - การป้องกันการบำรุงรักษา (Maintenance Prevention) - วิศวกรรมความน่าเชื่อถือ (Reliability Engineering) - ทีโรเทคโนโลยี (Terotechnology) - การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance) - การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive Maintenance) - การบำรุงรักษาเชิงรุก (Proactive Maintenance)
  • 12. 6. ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการบำรุงรักษาประกอบด้วย 6.1 เวลาเฉลี่ยระหว่างการขัดข้องMean( Time between Failure ; MTBF) 6.2 เวลาเฉลี่ยในการซ่อม (Mean Time To Repair ; MTTR) 6.3 อัตราความสูญเสียจากการหยุดเครื่องจักร 6.4 ความพร้อมใช้งานของเครื่องจักร ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
  • 13. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)
  • 14. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)
  • 15. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)
  • 16. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) 7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้านบำรุงรักษา ณัฐณิช จารัตน์ และคณะพ.ศ. 2559)ได้ศึกษาเรื่อง“การจัดทำระบบบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่องจักร” (กรณีศึกษา บริษัท อีเอส ไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จำกัด) ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาและวางแผนเกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงป้องกันในแผนกวิศวกรรมของบริษัท อีเอส ไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จำกัด โดยได้ศึกษาถึงสภาพของบริษัท อีเอส ไบโอเอ็นเนอร์ยี่ พบว่าขาดการวางแผนที่ดีซึงการบำรุงรักษาจะทำเมื่อครั้งเครื่องจักร หรือเกิดขัดข้อง และไม่มีการจัดรูปแบบองค์กรทางด้านการบำรุงรักษาที่ชัดเจนไม่มีการนำเสนอข้อมูลการขัดข้อง ของเครื่องจักรมาวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการวางแผนการบำรุงรักษาอันมีสาเหตุมาจากการไม่มีระบบการวางแผนการบำรุงรักษาจึงทำให้ การดำเนินการเดินเครื่องจักรขาดประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการวางระบบแผนการปรับปรุงการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่องจักรให้แก่ บริษัท อีเอส ไบโอเอ็นเนอร์ยี่ จำกัด เพื่อเพิ่มระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างการเกิดเหตุการณ์ขัดข้องและลดเปอร์เซ็นระยะการเกิดเหตุขัดข้องของเครื่องจักร โดยจัดทำแผนการบำรุง รักษารายวัน แผนการบำรุงรักษารายเดือน แผนการบำรุงรักษารายปี พร้อมกลับจัดการอบรมพนักงานเพื่อให้มีความเข้าใจในระบบและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้มีการจัดทำการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่องจักรทั้ง 7 ประเภท ได้แก่ เครื่องJohnson Pump, เครื่องCentrifugal Pump, เครื่องCooling Tower, เครื่องPump ลูกสูบ,เครื่องEbara Pump,เครื่องRobuschi Blower, เครื่องPump ระบบ Water Chiller โดยก่อนการทำระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันอัตรา การความสูญ เสียจากการหยุดเครื่องจักรอยูที่17.02% ภายหลังจากการนำ ระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันมาใช้อัตราความสูญเสียจากการหยุดเครื่อง จักรอยู่ที่3.43% ซึ่งลดลง79.84% ทำให้ เครื่องจักรมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
  • 17. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) สุชีพ ทิพย์โอสถ และคณะพ.ศ. (2558) ได้ศึกษาเรื่อง“การจัดทำระบบบำรุงรักษาเชิงป้องกันอาคาร True Tower 2” (กรณีศึกษาบริษัท พร้อม เทคโนเซอร์วิส จำกัด) ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาและวางแผนเกี่ยวกับการบำรุงรักษาเชิงป้องกันอาคารTrue Tower 2 กรณีศึกษา ของบริษัท พร้อม เทคโนเซอร์วิส จำกัดโดยได้ศึกษาถึงสภาพของอาคารพบว่าขาดการวางแผนที่ดีซึ่งการบำรุงรักษาจะกระ ทำเมื่อเครื่องจักรเกิดขัดข้องและไม่มีการจัดรูปองค์กรทางด้านการบำรุงรักษาที่ชัดเจนไม่มีการนำข้อมูลการขัดข้องของ เครื่องจักรมาวิเคราะห์เพื่อใช้ในการวางแผนการบำรุงรักษาอันมีสาเหตุมาจากการไม่มีระบบการวางแผนการบำรุงรักษา จึงทำให้การดำเนินการผลิตขาดประสิทธิภาพดังนั้นการจัดการวางระบบแผนการปรับปรุงการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่อง จักรให้แก่อาคาร True Tower 2 เพื่อเพิ่มระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างการเกิดเหตุขัดข้องและลดเปอร์เซ็นระยะเวลาการเกิดเหตุ ขัดข้องของเครื่องจักรโดยการจัดทำแผนการบำรุงรักษารายวัน, รายเดือนและแผนการบำรุงรักษารายปีพร้อมกับการจัด อบรมพนักงานเพื่อให้มีความเข้าใจในระบบการบำรุง เชิงป้องกันเครื่องจักรและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้มีการจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ที่เครื่องW12420133, U2320531, U2320528GT4, CT1, 20744102 โดยที่ก่อนทำระบบนั้นความพร้อมใช้งานเฉลี่ยรวมกันเท่ากับ 66.55% มีชั่วโมงขัดข้องเฉลี่ยวม63.51 ชั่วโมง ภายหลังจากการทำระบบซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันความพร้อมใช้งานเฉลี่ยเท่ากับ 99.28% เพิ่มขึ้น 32.73% และมีชั่วโมงขัดข้องเฉลี่ยรวม1.2ชั่วโมง คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ขัดข้องลดลง98.31%
  • 18. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) ฉัตรชัย ช้อนนาค และคณะ(พ.ศ. 2559) ได้ศึกษาเรื่อง“การจัดทำระบบบำรุงรักษาเชิงป้องกันรถโฟร์คลิฟท์”(กรณีศึกษา การท่าเรือแห่งประเทศไทย) ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาและวางแผนกี่ยวกับการบำรุงรักษาเชิงป้องกันรถโฟร์คลิฟท์ในแผนกซ่อมเครื่อง ทุ่นแรง 1 การท่าเรือแห่งประเทศไทย โดยได้ศึกษาถึงสภาพของการท่าเรือพบว่าขาดการวางแผนที่ดี ซึ่งการบำรุงรักษาจะกระ ทำเมื่อครั้งรถเสียหรือเกิดขัดข้องและไม่มีการจัดรูปแบบองค์กรทางด้านการบำรุงรักษาที่ชัดเจนไม่มีการนำข้อมูลการขัดข้อง ของรถโฟร์คลิฟท์มาวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการวางแผนการบำรุงรักษาอันมีสาเหตุมาจากการไม่มีระบบการวางแผนการบำรุง รักษาจึงทำให้การดำเนินการขนย้ายและขาดประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการวางระบบแผนการปรับปรุงการบำรุงรักษาเชิงป้อง กันรถโฟร์คลิฟท์ให้แก่การท่าเรือแห่งประเทศไทยเพื่อเพิ่มระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างการเกิดเหตุการณ์ขัดข้องและลดเปอร์เซ็น ระยะการเกิดเหตุขัดข้องของรถโฟร์คลิฟท์ โดยการจัดทำแผน การบำรุงรักษารายวันแผนการบำรุงรักษารายเดือนและแผนการ บำรุงรักษารายปีพร้อมกับจัดการอบรมพนักงานเพื่อให้มีความเข้าใจในระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันและสามารถปฏิบัติ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยได้มีการจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันที่รถโฟร์คลิฟท์ยีห้อ Caterpillar โดยก่อนการทำ ระบบนั้นความพร้อมใช้งานเฉลี่ยรวมเท่ากับ 5.46%มีอัตราการขัดข้องอยูที่14.53%ภายหลังจากการทำระบบซ่อมบำรุงรักษา เชิงป้องกันความพร้อมใช้งานเฉลี่ยเพิ่มขึนเป็น13.44% และอัตราการขัดข้องลดลง79.07% จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการจัดทำระบบ PM ทำให้การใช้งานรถโฟร์คลิฟท์มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
  • 19.วิวัฒน์ ขันเขต และคณะ(พ.ศ. 2558) ได้ศึกษาเรื่อง“การจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันของเครื่องจักร” (กรณีศึกษาบริษัท เรกคิทท์ เบนดีเซอร์ เฮลธ์แคร์ประเทศไทย) ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่องOMCARTOONINGและเครื่อง STRIPPING 6 (เบอร์7) เครื่องจักรในแผนกPACKING ของบริษัท เรกคิทท์เบนดีเซอร์ เฮลธ์แคร์(ประเทศไทย) โดยพบว่าระบบ การบำรุงรักษาของบริษัทยังขาด แผนงานที่ชัดเจน ขาดการนำข้อมูลเสนอการซ่อมบำรุงมาวิเคราะห์ หาสาเหตุที่เครื่องจักรหยุด จึงทำให้เกิดปัญหาขัดข้องของเครื่องจักรบ่อยครั้งความพร้อมใช้งานของเครื่องจักรไม่มี ประสิทธิภาพที่จะเดินเครื่อง หรือจะ ปฏิบัติงานดังนั้นการจัดทำแผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกันให้กับเครื่องจักรโดยการจัดทำแผนบำรุงรักษาประจำวัน แผนการ บำรุงรักษาประจำเดือน แผนการบำรุงรักษาประจำปี พร้อมจัดการอบรมความรู้เรื่องการบำรุงรักษาเชิงป้องกันให้กับบุคลากร ในแผนกซ่อมบำรุงและในส่วน ของฝ่ายผลิตให้มีความรู้วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ และการบำรุงรักษาเครื่องจักรเพื่อป้องกัน การเกิดความเสียหายโดยได้จัดการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเครื่องจักร 2 เครื่องได้แก่ OM CARTOONING และเครื่องSTRIPPING 6 (เบอร์7) โดยก่อนการทำ ระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเวลาขัดข้องรวม ของเครื่องจักรอยูที่ 277.57 ชั่วโมง ภายหลังจากการนำระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันมาใช้ พบว่าเวลาขัดข้องรวมอยู่ที่ 11.43 ชั่วโมง คิดเป็นสัดส่วนที่ลดลงเท่ากับ 95.88% ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)
  • 20. ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.เก็บข้อมูล 2.ศึกษาสภาพปัญหา และวิเคราะห์ปัญหาเบื้องต้น 3.เสนอปัญหาต่อคณะกรรมการ 4.วิเคราะห์ปัญหาเชิงลึก 5.วางแผนดำเนินการ และติดตาม 6.ทบทวน และปรับปรุงแก้ไข 7.ประเมินผลเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และสรุปผล
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.แผนผังการติดตั้งเครื่องจักร
  • 25.แผนงานการดําเนินโครงงาน
  • 26.งบประมาณในการดําเนินโครงงาน
  • 27. วิสัยทัศน์ "เรามุ่งมันที่จะเป็นหนึ่งในบริษัทชั้นนำของประเทศไทย ที่มีความมั่นคงเป็นปึกแผ่นดำเนิน ธุรกิจโดยประสานผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ลูกค้า หุ้นส่วน ทางธุรกิจ พนักงาน สังคม และสิ่ง แวดล้อมอย่างสมดุล ภายใต้การจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล เป็นแบบอย่างที่ดีเคียงคู่สังคมไทย ตลอดไป” พันธกิจ บริษัท L.LIGHTING GLASS CO.,LTD
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31. บริษัท L.LIGHTING GLASS CO.,LTD ที่อยู่ 71/9 กม 52 หมู่ 5 ถนนบางนา-ตราด ตำบลท่าข้าม อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24130 โทรศัพท์ 0-3882-8508-11 เวลาทำการ จันทร์-ศุกร์ เวลา 08:00-17:00,เสาร์ เวลา 08:00-17:00
  • 32. บริษัท L.LIGHTING GLASS CO.,LTD ผลิตภัณฑ์ของบริษัท
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37. โครงสร้างการบริหารของ
  • 38. แนวทางจัดระบบ PM 1.จัดทำทะเบียน 2.จัดทำการปรับปรุงระบบคู่มือและมาตรฐานสากล PM 3.จัดทำแผนระบบงาน Master Plan 4.ทำการนำไปปฏิบัติ 5.การติดตามและประเมินผล
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42. แผนผังการติดตั้งเครื่องจักรแต่ละพื้นที่
  • 43.
  • 44.Line A1 ฝั่ง Mould เครื่องจักรที่มีอัตราความพร้อมใช้งาน Line A1 ฝั่ง Blank เครื่อง HEYE จาก เยอรมัน Line B2 ฝั่ง Mould Line B2 ฝั่ง Blank
  • 45. เครื่องจักรในแต่ละพื้นที่ของการผลิต
  • 46. เครื่องจักรในแต่ละพื้นที่ของการผลิต
  • 47.สถิติการขัดข้องของเครื่องจักรในโรงงาน เดือน มกราคม-พฤศจิกายน 2564
  • 48.
  • 49.ตารางวิเคราะห์ดัชนีการบำรุงรักษาเครื่องจักรของ โรงงาน
  • 50.
  • 51. การคำนวณดัชนีการบำรุงรักษาเครื่องจักร 1. เวลาเฉลี่ยระหว่างการขัดข้อง(Mean Time Between Failure ; MTBF) จาก MTBF กลุ่มที่1= เวลาในการเดินเครื่องจักรทั้งหมด(ชม.) − เวลาเครื่องจักรหยุด(ชม.) จำนวนครั้งของการหยุดของเครื่องจักร(ครั้ง) MTBF = 723.91-15.91 1.27 เฉลี่ยระหว่างการขัดข้อง = 557.480 ชั่วโมง/การเสียหนึ่งครั้ง
  • 52. การคำนวณดัชนีการบำรุงรักษาเครื่องจักร 2. เวลาเฉลี่ยในการซ่อม (Mean Time To Repair ; MTTR) จาก MTTR กลุ่มที่1 = เวลาเครื่องจักรหยุด(ชม.) จำนวนครั้งของการหยุดของเครื่องจักร(ครั้ง) MTTR = 15.91 1.27 เฉลี่ยในการซ่อม = 12.528 ชั่วโมง/ต่อการซ่อมหนึ่งครั้ง
  • 53. การคำนวณดัชนีการบำรุงรักษาเครื่องจักร 3. อัตราความสูญเสียจากการหยุดเครื่องจักร เวลาเครื่องจักรหยุด(ชม.) X100 เวลาในการเดินเครื่องจักรทั้งหมด(ชม.) (15.91/723.91) X100 = อัตราความสูญเสียจากการหยุดเครื่องจักร = 2.198%
  • 54. 4. ความพร้อมใช้งานเครื่องจักร การคำนวณดัชนีการบำรุงรักษาเครื่องจักร เวลาเครื่องจักรทำงานทั้งหมด(ชม.) − เวลาการหยุดเครื่องจักรทั้งหมด(ชม.) × 100 เวลาเครื่องจักรทำงานทั้งหมด(ชม) = (723.91-15.91)/(723.91)X100 = 97.802% ความพร้อมใช้งานเครื่องจักร 97.802%
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.แผนผังการติดตั้งเครื่องจักร
  • 61.เครื่องจักรในแต่ละพื้นที่ของการผลิต
  • 62.
  • 63.การจำแนกประเภทเครื่องจักร
  • 64.การจำแนกประเภทเครื่องจักร
  • 65.การจำแนกประเภทเครื่องจักร
  • 66.การจำแนกประเภทเครื่องจักร
  • 67.SPARE PART REPAIR IS MACHINE
  • 68.SPARE PART REPAIR IS MACHINE
  • 69.SPARE PART REPAIR IS MACHINE
  • 70.สรุปจํานวนเครื่องจักร ตามพื้นที่
  • 71. ขอบคุณครับ