สื่อการสอน_หน่วย3_เทคโนโลยีสารสนเทศ

0

Presentation Transcript

  • 1.ตัวชี้วัด ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 2.การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยมีลักษณะอย่างไร ?
  • 3.ระดับประเทศ ระดับหน่วยงานหรือองค์กร ระดับบุคคล การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ การทำบัตรประชาชน Smart Card สะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลของทางภาครัฐ การใช้บัตรเครดิตแทนการพกเงินสด เพราะสะดวกและปลอดภัย การใช้แอปพลิเคชันบนมือถือส่วนตัวสะดวกสามารถใช้ได้ทุกที่ ทุกเวลา การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว และสร้างความเปลี่ยนแปลงต่อระบบสังคมและองค์ต่าง ๆ ดังนี้
  • 4.การใช้งานเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย อ่านวิวก่อนสั่งซื้อ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ใช้งานจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้งานเป็นสำคัญ เช่น การซื้อสินค้าและการทำธุรกรรมออนไลน์ การใช้งานสื่อโซเชียลมีเดีย การกรอกข้อมูลส่วนตัวต่าง ๆ ก่อนการใช้งาน
  • 5.การทำธุรกรรมออนไลน์อย่างปลอดภัย แจ้งเตือนผ่านอีเมล ออกจากระบบทุกครั้ง หลังใช้งาน ใช้งานบนอุปกรณ์ส่วนตัว ตั้งรหัสผ่านให้ มีความปลอดภัย ใช้บริการ SMS แจ้งเตือน SMS จำกัดวงเงิน ในการทำธุรกรรม ไม่ใช้งาน ผ่าน WI-FI สาธารณะ
  • 6.การซื้อสินค้าออนไลน์อย่างปลอดภัย อ่านรีวิวก่อนสั่งซื้อ ไม่ใช้งานผ่าน WI-FI สาธารณะ เก็บหลักฐาน การสั่งซื้อไว้ ตรวจสอบการจดทะเบียนร้านค้า เลือกเว็บไซต์ที่ขึ้นต้นด้วย https:// ตรวจสอบคุณสมบัติของสินค้า ตรวจสอบประวัติ การฉ้อโกง สำรวจราคาตลาดก่อน
  • 7.VDO
  • 8.การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ อ่านรีวิวก่อนสั่งซื้อ ความเป็นส่วนตัว Username : Korn Password : XXXXXX ความถูกต้องแม่นยำ ความเป็นเจ้าของ การเข้าถึงข้อมูล ผู้ใช้จะต้องตระหนักถึงความเป็นส่วนตัวของเจ้าของข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร จะต้องตรวจสอบข้อมูลให้ดี ไม่คัดลอก ผู้ใช้จะต้องไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น ผู้ใช้จะต้องไม่พยายามเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่น โดยไม่ได้รับอนุญาต
  • 9.ในประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทคอยู่หลายฉบับ แต่ฉบับที่สำคัญที่สุด คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่2) พ.ศ. 2560 กฎหมายคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่ตั้งขึ้นมาเพื่อ ป้องกัน ควบคุมการกระทำความผิด ที่เกิดขึ้นจากการใช้คอมพิวเตอร์ มีบทลงโทษ ตามที่พระราชบัญญัติกำหนดไว้
  • 10.การคุ้มครองลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีนับตั้งแต่สร้างสรรค์ผลงาน และจะคุ้มครองต่อหลังจากผู้สร้างสรรค์ผลงานเสียชีวิตลงอีก 50 ปี ลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์เป็นผลงานที่เกิดจากความรู้ ความสามารถ และความอุตสาหะพยายามในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยผู้ที่สร้างผลงานชิ้นนั้นสามารถกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับผลงานที่สร้างขึ้นได้แต่เพียงผู้เดียว
  • 11.ลิขสิทธิ์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ให้ความคุ้มครองกับผลงาน 9 ประเภท ได้แก่ งานวรรณกรรม หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์  งานศิลปกรรม ภาพถ่าย ประติมากรรม จิตกรรม ภาพพิมพ์ งานนาฏกรรม การเต้น ฟ้อนรำ การแสดงต่าง ๆ งานดนตรีกรรม ทำนอง ขับร้อง เนื้อเพลง ดนตรีทำนองเพลง งานสิ่งบันทึกเสียง เสียงดนตรี เสียงการแสดง เสียงที่บันทึก งานโสตทัศนวัสดุ วีซีดี ดีวีดี งานภาพยนตร์ ภาพยนตร์ ละคร เสียงประกอบอยู่ในภาพยนตร์และละคร รายการวิทยุ มิวสิกวิดีโอเพลง การเผยแพร่เสียงทางโทรทัศน์ งานแพร่เสียงแพร่ภาพ งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกศิลปะ และแผนกวิทยาศาสตร์
  • 12.ลิขสิทธิ์ ข้อยกเว้นที่คนทั่วไปมีสิทธิ์ที่จะใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของลิขสิทธิ์ มีหลักเกณฑ์ดังนี้ การกระทำเพื่อใช้ในการศึกษาหรือการวิจัยเท่านั้น การกระทำต้องไม่ใช่ เพื่อหาผลกำไร การกระทำต้องไม่ขัด ต่อผลประโยชน์เจ้าของลิขสิทธิ์ และไม่กระทบต่อสิทธิ์อันชอบ ด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์
  • 13.การใช้งานสารสนเทศให้ปลอดภัย ผู้ใช้จะต้องระมัดระวังในการบันทึกข้อมูลส่วนตัวทางออนไลน์ ก่อนเผยแพร่ข้อมูลต้องตรวจสอบข้อมูลเสมอ ไม่คัดลอกหรือนำข้อมูลของผู้อื่นไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต และหากนำไปใช้ต้องใส่แหล่งที่มาทุกครั้ง หากผู้ใช้เทคโนโลยีในทางที่ไม่ดีจะต้องได้รับโทษตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์