แบบจำลองอะตอม1

0

Presentation Transcript

  • 1.แบบจำลองอะตอม Atomic Model  
  • 2.
  • 3.คำนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book) หรือ E-Book เล่นนี้เป็นส่วนหนึ่งรายวิชาเคมี ว31221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/1 จัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับแบบจำลองอะตอม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ได้รวบรวมความหมายของแบบจำลองอะตอม และลำดับการคิดค้นอะตอมทั้ง 5แบบ โดยผู้จัดทำได้รวบรวมข้อมูลข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ แนวคิด วิธีการทดลอง ของแบบจำลองอะตอมแต่ละชนิดมาพอสังเขปเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย
  • 4.
  • 5.สารบัญ 1.What’s Atomic Models แบบจำลองอะตอมคืออะไร? 1 2.Timeline Atomic Models ลำดับการคิดค้นแบบจำลองอะตอมทั้ง5 2 2.1 แบบจำลองอะตอมของ ดอลตัน 2 2.2 แบบจำลองอะตอมของ ทอมสัน 3 2.3 แบบจำลองอะตอมของ รัทเธอร์ฟอร์ด 4 2.4 แบบจำลองอะตอมของ โบร์ 5 2.5 แบบจำลองอะตอมกลศาสตร์ควอนตัม 6 (กลุ่มหมอก) เรื่อง หน้า
  • 6.   แบบจำลองอะตอมที่สร้างขึ้นมานั้นสามารถปรับปรุงและพัฒนาเมื่อพบข้อมูลใหม่ที่แบบจำลองเดิมไม่สามารถอธิบายได้ What’s แบบจำลองอะตอมเป็นมโนภาพที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการทดลอง เพื่ออธิบายสมมติฐานที่ตั้งขึ้น What’s Atomic Models Atomic Models 1
  • 7.Timeline Timeline Atomic Models Atomic Models 1 สรุปแนวคิดของ จอห์น ดอลตัน 1. สสารประกอบขึ้นจากอนุภาคที่เล็กที่สุด เรียกว่าอะตอม มีลักษณะเป็นทรงกลมตันที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก 2. อะตอมไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่ หรือทำลายได้ แบบจำลองอะตอมของดอลตันได้ค้นพบ อะตอม และไม่มีการทดลอง 3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีคุณสมบัติเหมือนกัน ในทางกลับกันอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน จะมีสมบัติต่างกัน 4. เมื่ออะตอมของธาตุต่างชนิดกันมารวมตัวกัน จะเกิดเป็นสารประกอบ โดยสารประกอบจะมีอัตราส่วนของธาตุเป็นเลขลงตัวจำนวนต่ำๆ แบบจำลองมีลักษณะ เป็นก้อนกลมๆตัน แบบจำลองอะตอมของ ดอลตัน 2
  • 8.2 แบบจำลองอะตอมของ ทอมสัน สรุปแนวคิดของ ทอมสัน 1.อะตอมเป็นทรงกลมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า ซึ่งประกอบขึ้นด้วยอนุภาคที่มีประจุบวกและอนุภาคที่มีประจุลบ ซึ่งมีค่าประจุไฟฟ้าเท่ากัน 2. ประจุบวกและประจุลบของอะตอมจะกระจายตัวอยู่ทั่วทั้งอะตอมอย่างสม่ำเสมอโดยประจุลบจะฝังตัวอยู่ในเนื้ออะตอมที่มีประจุบวก แบบจำลองของทอมสัน ทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของก๊าซในหลอดรังสีแคโทด และได้ค้นพบ อิเล็กตรอน ( e- ) แบบจำลองมีลักษณะ เป็นทรงกลม ที่มีประจุบวกก กระจายตัวอย่าสม่ำเสมอ และประจุลบฝังตัว มีคุณสมบัติเป็นกลางทางไฟฟ้า 3
  • 9.3 แบบจำลองอะตอมของ รัทเธอร์ฟอร์ด สรุปแนวคิดของ รัทเธอร์ฟอร์ด ภายในอะตอมเป็นพื้นที่ว่างเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากโปรตอนซึ่งมีประจุเป็นบวกนั้นรวมตัวกัน อย่างหนาแน่นอยู่ตรงกลางของอะตอม เรียกกว่านิวเคลียส 3. นิวเคลียสของอะตอมนั้นมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับขนาดทั้งหมดของอะตอม ถึงแม้ว่านิวเคลียสจะมีขนาดเล็กแต่ก็มีมวลสูงมาก 4. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบๆนิวเคลียสและเคลื่อนที่เป็นบริเวณกว้าง แบบจำลองมีลักษณะ  เป็นอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็ก แต่มีมวลมากและมีประจุเป็นบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุเป็นลบ และมีมวลน้อยมาก จะวิ่งอยู่รอบนิวเคลียสเป็นบริเวณกว้าง แบบจำลองของรัทเธอร์ฟอร์ด ทำการทดลองโดยการยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำ และได้ค้นพบ นิวเคลียส 4
  • 10.4 แบบจำลองอะตอมของ โบร์ สรุปแนวคิดของ โบร์ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นวงโคจร โดยมีขนาด และค่าพลังงานที่แน่นอน 2. ขนาดวงโคจรของอิเล็กตรอนนั้นจะสำพันธ์กับระดับพลังงาน ที่ระดับพลังงานต่ำ วงโคจรจะมีขนาดเล็ก และอยู่ใกล้กับนิวเคลียส และเมื่อระดับพลังงานเพิ่มขึ้น วงโคจรจะมีขนาดใหญ่ขึ้น และอยู่ห่างจากนิวเคลียสมากขึ้น 3. อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ข้ามจากระดับพลังงานหนึ่งไปยังระดับพลังงานหนึ่งได้ เมื่อมีได้รับหรือสูญเสียพลังงาน และเมื่อได้รับพลังงานจะอิเล็กตรอนจะข้ามขึ้นไปยังระดับพลังงานที่สูงขึ้น(ไกลจากนิวเคลียส) และเมื่อสูญเสียพลังงานอิเล็กตรอนจะข้ามลงมายังระดับพลังงานที่ต่ำลง (เข้าใกล้นิวเคลียส) แบบจำลองมีลักษณะ เป็นอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นชั้นๆ ตามระดับพลังงานแต่ละชั้น แบบจำลองของโบร์ ทำการทดลองโดยการศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของธาตุ โดยบรรจุแก๊สไฮโดรเจนในหลอดปล่อยประจุ จากนั้นให้พลังงานเข้าไป และได้ค้นพบชั้นพลังงาน 5
  • 11.5 แบบจำลองอะตอมกลศาสตร์ควอนตัม (กลุ่มหมอก) สรุปแนวคิดทาง กลศาสตร์ควอนตัม อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นทั้งอนุภาคและคลื่น ทำให้ไม่สามารถระบุตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้ แต่สามารถระบุได้ว่าบริเวณใดที่มีโอกาศพบอิเล็กตรอน 3. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบๆนิวเคลียสในลักษณะของกลุ่มหมอกที่มีประจุเป็นลบ และยิ่งเข้าใกล้นิวเคลียสโอกาสที่พบอิเล็กตรอนยิ่งสูงขึ้น 4. กลุ่มหมอกหรือบริเวณที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอน เรียกว่า ออร์บิทัล และออร์บิทัลมีหลายรูปแบบ เช่น s, p, d และ f แบบจำลองมีลักษณะ อิเล็กตรอนไม่สามารถวิ่งรอบนิวเคลียสด้วยรัศมีที่แน่นอน  บางครั้งเข้าใกล้บางครั้งออกห่าง จึงไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนได้ แบบจำลองของกลุ่มหมอก ไม่มีการทดลอง และได้ค้นพบกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน ( e- ) 6
  • 12.E-Book แบบจำลองอะตอม เสนอ คุณครูทวีศักดิ์ ยังรอด จัดทำโดย 1. นางสาวพิมพ์ชนก ศรีสวัสดิ์ เลขที่15 2. นางสาวศยามล ศรีสุวรรณโณ เลขที่20 3. นางสาวสาลินี ศรีสุวรรณ เลขที่21 4. นางสาวสิริวิมล พุทธาโร เลขที่22 Thank you 